จังหวัดสงขลา ตั้งอยู่ในภาคใต้ตอนล่างฝั่งตะวันออก อยู่เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง 4 เมตร มีเนื้อที่ประมาณ 7,393.889 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,621,180 ไร่ มีขนาดเป็นอันดับ 27 ของประเทศ และใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของภาคใต้ ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศใต้ ตามเส้นทางรถไฟ เป็นระยะทาง 947 กิโลเมตร และตามทางหลวงแผ่นดิน เป็นระยะทาง 950 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้
-
-
- ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดพัทลุง
- ทิศใต้ ติดกับจังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และรัฐเปอร์ลิสของมาเลเซีย
- ทิศตะวันออก ติดกับอ่าวไทย
- ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดพัทลุง และจังหวัดสตูล
-
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดสงขลาในปี พ.ศ.2556 มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.43 เมื่อเทียบกับปี 2555 ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว 146,030.33 บาท โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาประจำปี 220,712 ล้านบาท ซึ่งสาขาที่มีมูลค่าการผลิตสูงสุด คือ สาขาอุตสาหกรรม 47,030 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 21.31 ของสาขาการผลิตทั้งหมด
ตารางผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดนครราชสีมา ณ ราคาประจำปี
หน่วย : ล้านบาท
สาขา | 2552 | 2553 | 2554 | 2555 | 2556 |
ภาคเกษตร | 30,287 | 40,832 | 48,872 | 39,694 | 36,398 |
เกษตรกรรม การล่าสัตว์และการป่าไม้ | 22,286 | 33,775 | 41,782 | 32,160 | 30,063 |
การประมง | 8,001 | 7,058 | 7,090 | 7,534 | 6,335 |
ภาคนอกเกษตร | 136,804 | 162,544 | 175,533 | 175,791 | 184,314 |
การทำเหมืองแร่และเหมืองหิน | 16,770 | 23,051 | 22,469 | 24,163 | 28,348 |
อุตสาหกรรม | 35,989 | 43,644 | 51,099 | 47,971 | 47,030 |
การไฟฟ้า แก๊ส และการประปา | 4,270 | 4,353 | 4,717 | 4,771 | 4,955 |
การก่อสร้าง | 5,951 | 9,749 | 9,257 | 10,664 | 13,063 |
การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน | 21,421 | 25,266 | 26,741 | 23,763 | 23,286 |
โรงแรมและภัตตาคาร | 2,657 | 3,617 | 4,003 | 4,284 | 4,828 |
การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าและการคมนาคม | 9,086 | 9,274 | 9,901 | 9,990 | 10,145 |
ตัวกลางทางการเงิน | 7,151 | 7,400 | 8,631 | 9,489 | 11,156 |
บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการทางธุรกิจ | 8,434 | 8,094 | 8,464 | 8,500 | 9,770 |
การบริหารราชการและการป้องกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ | 9,605 | 11,145 | 12,051 | 12,293 | 11,721 |
การศึกษา | 10,395 | 11,096 | 12,301 | 13,374 | 13,286 |
การบริการด้านสุขภาพและสังคม | 3,471 | 4,365 | 4,327 | 4,647 | 4,845 |
การให้บริการด้านชุมชน สังคมและบริการส่วนบุคคลอื่นๆ | 1,369 | 1,341 | 1,490 | 1,641 | 1,705 |
ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล | 235 | 149 | 82 | 242 | 176 |
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด | 167,090 | 203,376 | 224,405 | 215,485 | 220,712 |
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อคน (บาท) | 114,287 | 137,406 | 150,515 | 143,541 | 146,030 |
ประชากร ( 1,000 คน) | 1,462 | 1,480 | 1,491 | 1,501 | 1,511 |
ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ http://www.nesdb.go.th (ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2558)
ทรัพยากรป่าไม้
จังหวัดสงขลามีพื้นที่ป่า 1,124.39 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 15.21 ของเนื้อที่จังหวัด มีการประกาศเป็นป่าสงวนแห่งชาติ (ตั้งแต่ พ.ศ.2507) รวม 41 ป่า เนื้อที่ 1,256,669.25 ไร่ หรือร้อยละ 27.84 ของเนื้อที่จังหวัด
ทรัพยากรน้ำ
จังหวัดสงขลาประกอบด้วยลุ่มน้ำหลัก 2 ลุ่มน้ำ คือ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา และส่วนหนึ่งของลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออก โดยแต่ละลุ่มน้ำหลักประกอบด้วยลุ่มน้ำย่อยหรือลุ่มน้ำสาขา ได้แก่
- ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ประกอบด้วยลุ่มน้ำย่อยหรือลุ่มน้ำสาขา ดังนี้
-
- ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา มีพื้นที่รับน้ำประมาณ 2,383 ตารางกิโลเมตร มีคลองอู่ตะเภา เป็นลำน้ำสายหลัก ความยาวประมาณ 68 กิโลเมตร มีคลองเล็กๆ หลายสายมารวมกัน และไหลลงสู่ทะเลสาบสงขลาที่บ้านแหลมโพธิ์ ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ ต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาสันกาลาคีรี ในตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา ไหลผ่านตำบลต่างๆ ในอำเภอสะเดา ผ่านอำเภอหาดใหญ่ลงสู่ทะเลสาบสงขลาที่บ้านคลองบางกล่ำ มีความยาวประมาณ 90 กิโลเมตร ลุ่มน้ำคลองอู่ตะเภา มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 2,392 ตารางกิโลเมตร ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปี 1,243.67 ล้านลูกบาศก์เมตร
- ลุ่มน้ำย่อยคลองพรุพ้อ มีพื้นที่รับน้ำประมาณ 500 ตารางกิโลเมตร มีคลองพรุพ้อเป็นลำน้ำสายหลัก ความยาวประมาณ 36 กิโลเมตร มีคลองเล็กๆ หลายสายมารวมกัน ไหลลงทะเลสาบที่บ้านท่าหยี ตำบลห้วยลึก อำเภอควนเนียง
- ลุ่มน้ำย่อยคลองรัตภูมิ มีพื้นที่รับน้ำประมาณ 617 ตารางกิโลเมตร มีคลองรัตภูมิ เป็นลำน้ำสายหลัก ความยาวประมาณ 63 กิโลเมตร ไหลผ่านอำเภอรัตภูมิ ก่อนลงสู่ทะเลสาบที่บ้านบางหัก ตำบลรัตภูมิ อำเภอควนเนียง ต้นกำเนิดจากเทือกเขาบรรทัดและเขาหลวง กั้นเขตแดนระหว่างอำเภอรัตภูมิกับจังหวัดสตูล ไหลผ่านอำเภอรัตภูมิ อำเภอควนเนียง ลงสู่ทะเลสาบที่บ้านปากบาง ความยาว 45 กิโลเมตร ลุ่มน้ำคลองรัตภูมิ มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 859 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปี 648.60 ล้านลูกบาศก์เมตร
- ลุ่มน้ำย่อยคาบสมุทรสทิงพระ ประกอบด้วยลุ่มน้ำย่อย 4 ลุ่มน้ำ ได้แก่ 1) ลุ่มน้ำย่อยฝั่งตะวันออก 1 (อำเภอระโนด) มีพื้นที่รับน้ำประมาณ 488 ตารางกิโลเมตร 2) ลุ่มน้ำย่อยฝั่งตะวันออก 2 มีพื้นที่รับน้ำประมาณ 202 ตารางกิโลเมตร มีคลองสำคัญหลายสาย 3) ลุ่มน้ำย่อยฝั่งตะวันออก 3 มีพื้นที่รับน้ำประมาณ 136 ตารางกิโลเมตร 4) ลุ่มน้ำย่อยฝั่งตะวันออก 4 (อำเภอเมืองสงขลา) มีพื้นที่รับน้ำประมาณ 204 ตารางกิโลเมตร คาบสมุทรสทิงพระ มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 493.60 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปี 400.73 ล้านลูกบาศก์เมตร
- ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออกในจังหวัดสงขลา คือ ลุ่มน้ำย่อยเทพา - นาทวี มีพื้นที่รับน้ำประมาณ 1,336.12 ตารางกิโลเมตร มีลำน้ำสายหลัก 2 สาย ได้แก่ คลองเทพา ความยาวประมาณ 130 กิโลเมตร และคลองตุหยง ความยาวประมาณ 12 กิโลเมตร
-
-
-
- ลุ่มน้ำคลองเทพา มีต้นน้ำจากเทือกเขาสันกาลาคีรี ไหลผ่านอำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา ไปลงอ่าวไทยที่ตำบลเทพา ความยาวประมาณ 80 กิโลเมตร ลุ่มน้ำคลองเทพา มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 1,895 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณน้ำเฉลี่ยทั้งปี 763 ล้านลูกบาศก์เมตร
- ลุ่มน้ำคลองนาทวี ต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาสันกาลาคีรีผ่านอำเภอนาทวี อำเภอจะนะ ไหลลงสู่อ่าวไทยที่ปากบางสะกอม ความยาวประมาณ 70 กิโลเมตร ลุ่มน้ำคอลงนาทวี มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 1,586 ตารางกิโลเมตร ปริมาณน้ำเฉลี่ยทั้งปี 617 ล้านลูกบาศก์เมตร
-
ทรัพยากรสัตว์ป่า
จังหวัดสงขลามีสภาพป่าอันอุดมสมบูรณ์จึงเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหายากหลายชนิด จำแนกเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่ สัตว์ป่าที่สำรวจพบในพื้นที่มีไม่น้อยกว่า 355 ชนิด และ สัตว์ป่าที่ห้ามล่ามีทั้งหมด 53 ชนิด ตามประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่วนใหญ่เป็นนกน้ำ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
จังหวัดสงขลามีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 160 กิโลเมตร ซึ่งตอนใต้ส่วนหนึ่งติดมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนเหนือ ติดทะเลอ่าวไทย ชายฝั่งทะเลนี้ส่วนใหญ่เป็นชายหาดซึ่งส่วนหนึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว
-
-
- ป่าชายเลน พื้นที่ป่าชายเลนจังหวัดสงขลาพบบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนใน เขตอำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสทิงพระ อำเภอสิงหนคร อำเภอควนเนียง อำเภอหาดใหญ่ และอำเภอเมืองสงขลา ปัจจุบันพื้นที่ป่าชายเลนได้เปลี่ยนสภาพเป็นพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง โดยเฉพาะการทำนากุ้ง แหล่งชุมชน อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม ทำให้พื้นที่ป่าชายเลนลดลงอย่างรวดเร็ว
- หญ้าทะเล พบแหล่งหญ้าทะเลในจังหวัดสงขลาบริเวณเดียว คือ บริเวณตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จำนวน 15 ไร่ และเป็นแหล่งหญ้าทะเลขนาดเล็ก ไม่มีความสมบูรณ์ สถานภาพค่อนข้างเสื่อมโทรม สัตว์น้ำในบริเวณหญ้าทะเลมีน้อย จึงไม่มีการใช้ประโยชน์จากแหล่งหญ้าทะเลดังกล่าว
- ปะการัง จังหวัดสงขลามีแนวปะการังคิดเป็นพื้นที่ 0.04 ตารางกิโลเมตร โดยพบว่าแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่ที่สุดอยู่ที่เกาะขาม ซึ่งเป็นเกาะใกล้ฝั่งในเขตอำเภอเทพา ส่วนที่เกาะหนูและเกาะแมว มีพื้นที่แนวปะการัง 0.005 และ 0.006 ตารางกิโลเมตร แนวปะการังของจังหวัดสงขลาส่วนใหญ่ อยู่ในสภาพสมบูรณ์ปานกลาง
-
การสาธารณสุข
จังหวัดสงขลา มีสถานพยาบาล ประกอบด้วย โรงพยาบาลรัฐ 5 แห่ง และ เอกชน 5 แห่ง เป็นโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 15 แห่ง (อำเภอสะเดามี 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลสะเดา และโรงพยาบาลปาดังเบซาร์) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล/หน่วยปฐมภูมิ 202 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสังกัดเทศบาล 25 แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงอื่นๆ 5 แห่ง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลทันตกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลค่ายเสนาณรงค์ โรงพยาบาลฐานทัพเรือสงขลา และ โรงพยาบาลกองบิน 56 มีคลินิกเอกชน 404 แห่ง ร้านขายยา 504 แห่ง และสถานบริการเพื่อสุขภาพ เช่น สปาเพื่อสุขภาพ นวดเพื่อสุขภาพ นวดเพื่อเสริมสวย 73 แห่ง มีบุคลากรสาธารณสุขประกอบด้วย แพทย์ 359 คน ทันตแพทย์ 82 คน เภสัชกร 148 คน อัตราส่วนแพทย์ต่อจำนวนประชากรจังหวัดสงขลา เท่ากับ 1: 3,903 คน
การศึกษา
จังหวัดสงขลา แบ่งพื้นที่การศึกษาระดับประถมศึกษาเป็น 3 เขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ครอบคลุมพื้นที่ 6 อำเภอ คือ อำเภอเมืองสงขลา อำเภอระโนด อำเภอสทิงพระ อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอนาหม่อม และอำเภอสิงหนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ครอบคลุมพื้นที่ 5 อำเภอ คือ อำเภอหาดใหญ่ อำเภอรัตภูมิ อำเภอควนเนียง อำเภอบางกล่ำ และอำเภอคลองหอยโข่ง และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ครอบคลุมพื้นที่ 5 อำเภอ คือ อำเภอนาทวี อำเภอจะนะ อำเภอเทพา อำเภอสะเดา และอำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา มีโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จำนวน 42 โรงเรียน มีครู จำนวน 2,536 คน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 46,496 คน โดยแยกเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาต้อนต้น จำนวน 27,697 คน นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 18,654 คน และนักเรียนระดับ ปวช.จำนวน 15 คน ซึ่งครู 1 คนจะต้องดูแลนักเรียนถึง 18.33 คน
ประชากร
จังหวัดสงขลามีประชากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ทั้งสิ้น 1,401,303 คน จำแนกเป็นชาย 684,223 คน หญิง 717,080 คน
จังหวัดสงขลา มีวิสัยทัศน์การพัฒนา 4 ปี พ.ศ. 2557-2560 (ฉบับทบทวน) คือ สงขลา ศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ สิ่งแวดล้อมยั่งยืน ประชาชนมีคุณภาพ สู่อาเซียน โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ (15 กลยุทธ์ 566 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 82,577.85 ล้านบาท)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การค้า การลงทุน การท่องเที่ยวและบริการ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้และพหุวัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 4 อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
พื้นที่เป้าหมายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศพื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ จังหวัดสงขลา ประกอบด้วย 114 หมู่บ้าน มีพื้นที่ทั้งหมด 1,129.13 ตารางกิโลเมตร มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่ทั้งสิ้น 209 แห่ง ดังแสดงในตาราง
โรงงานในพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (พื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ) | ||
อำเภอ | ตำบล | จำนวนโรงงานในพื้นที่ |
หาดใหญ่ | พะตง | 40 |
บ้านพรุ | 73 | |
สะเดา | เมืองสะเดา | 18 |
ปาดังเบซาร์ | 1 | |
ปริก | 16 | |
สำนักขาม | 22 | |
พังลา | 33 | |
สำนักแต้ว | 6 | |
รวม | 209 |
มิติ | กายภาพ | |
ด้านที่ | 1. | การวางผังที่ตั้งและการจัดพื้นที่ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 1.1 | ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ |
ตัวชี้วัด | 1.1.1 | ระบบสาธารณูปโภคได้รับการพัฒนาหรือยกระดับ โดยนำแนวคิดการออกแบบเชิงนิเวศมาใช้ในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ ระบบถนน) |
จากข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลา พื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยส่วนมากมีการจัดทำแผนผังระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ เช่น แผนผังแสดงเส้นทางคมนาคม องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาล อนามัย โรงเรียน ศาลาหมู่บ้าน วัด และประปาหมู่บ้าน เป็นต้น และมีการจัดแผนปรับปรุงยกระดับสาธารณูปโภคสาธารณูปการ เช่น แผนงานโครงการก่อสร้างถนน ระบบประปา และขยายไฟฟ้าแรงต่ำ เป็นต้น และตัวอย่างแผนผังระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และแผนปรับปรุงยกระดับสาธารณูปโภคสาธารณูปการ
แผนผังระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และแผนปรับปรุงยกระดับสาธารณูปโภคสาธารณูปการขององค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลา | ||
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | รายละเอียด | |
มีแผนผังระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ |
มีแผนปรับปรุงยกระดับสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ | |
เทศบาลตำบลสำนักขาม | × | ü |
องค์การบริหารส่วน ตำบลสำนักแต้ว | × | × |
เทศบาลเมืองสะเดา | ü | ü |
เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ | ü | ü |
องค์การบริหารส่วนตำบลปริก | × | ü |
เทศบาลตำบลปริก | ü | ü |
เทศบาลตำบลพะตง | ü | ü |
เทศบาลตำบลคลองแงะ | × | ü |
องค์การบริหารส่วนตำบลพังลา | ü | ü |
เทศบาลเมืองบ้านไร่ | ü | ü |
องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง | × | ü |
เทศบาลเมืองบ้านพรุ | ü | ü |
มิติ | กายภาพ | |
ด้านที่ | 1. | การวางผังที่ตั้งและการจัดพื้นที่ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 1.1 | การจัดสรรและบริหารจัดการพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ |
ตัวชี้วัด | 1.2.1 | สัดส่วนพื้นที่สีเขียว (Green Area) ต่อพื้นที่ทั้งหมดของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทั้งแนวป้องกัน (Protection Strip) และพื้นที่กันชน (Eco-Buffer) (ทั้งนี้ หากเป็นโรงงานที่ EIA/EHIA ไม่กำหนด สามารถเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายนอกโรงงานได้ |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ ทั้งนี้จากข้อมูลเทศบาลตำบลสำนักขาม องค์การบริหารส่วน ตำบลสำนักแต้ว เทศบาลเมืองสะเดา เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ องค์การบริหารส่วนตำบลปริก เทศบาลตำบลปริก เทศบาลตำบลพะตง เทศบาลตำบลคลองแงะองค์การบริหารส่วนตำบลพังลา เทศบาลเมืองบ้านไร่ องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง และเทศบาลเมืองบ้านพรุ ไม่มีแผนผังแสดงการจัดสรรพื้นที่สีเขียว(Green Area) ต่อพื้นที่ทั้งหมดของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทั้งแนวป้องกัน (Protection Strip) และพื้นที่กันชน (Eco-Buffer) และแนวทางในการเก็บข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลบริเวณพื้นที่เป้าหมาย โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งโรงงานอุตสาหกรรมมีการจัดทำแผนผังแสดงการจัดสรรพื้นที่สีเขียว(Green Area) ต่อพื้นที่ทั้งหมดของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทั้งแนวป้องกัน (Protection Strip)
มิติ | กายภาพ | |
ด้านที่ | 2. | การออกแบบอาคารและบริเวณโดยรอบ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 2.1 | อาคารของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม และเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มีการออกแบบอาคารและ/หรือระบบภายในที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ/หรือประหยัดพลังงาน |
ตัวชี้วัด | 2.1.1 | อาคารของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม และเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มีการออกแบบอาคารและ/หรือระบบภายในที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ/หรือประหยัดพลังงาน |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ ทั้งนี้จากข้อมูลจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน พบว่ามีโรงงานที่เข้าข่ายโครงการอนุรักษ์พลังงานอาคารควบคุมพลังงาน จำนวน 33 โรงงาน คิดเป็นร้อยละ 15.78 ของโรงงานทั้งหมดในพื้นที่เป้าหมายเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และแนวทางในการเก็บข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลบริเวณพื้นที่พื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งโรงงานที่มีการออกแบบอาคาร และ/หรือระบบภายในอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ/หรือประหยัดพลังงานจะพิจารณาจากการที่โรงงานมีอาคารประหยัดพลังงานตามมาตรฐานเกณฑ์อาคารสีเขียวของประเทศต่างๆ ได้แก่ สถาบันอาคารเขียวไทย LEED TREES และ TEEAM หรือ มีอุปกรณ์ควบคุมไฟฟ้าและแสงสว่างในเปิดปิดอัตโนมัติตามความต้องการในการใช้งาน หรือมีพื้นที่ใช้สอยที่รองรับแสงจากธรรมชาติมากกว่า 20% ของอาคาร
มิติ | เศรษฐกิจ | |
ด้านที่ | 3. | เศรษฐกิจของภาคอุตสาหกรรม |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 3.1 | การเพิ่มปริมาณการลงทุนของภาคอุตสาหกรรม |
ตัวชี้วัด | 3.1.1 | จำนวนเงินลงทุนของโรงงานอุตสาหกรรมในเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ |
สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลาได้จัดทำฐานข้อมูลเงินลงทุนของโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดสงขลา โดยโรงงานอุตสาหกรรมในเขตเทศบาลตำบลสำนักขาม องค์การบริหารส่วน ตำบลสำนักแต้ว เทศบาลเมืองสะเดา เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ องค์การบริหารส่วนตำบลปริก เทศบาลตำบลปริก เทศบาลตำบลพะตง เทศบาลตำบลคลองแงะองค์การบริหารส่วนตำบลพังลา เทศบาลเมืองบ้านไร่ องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง และเทศบาลเมืองบ้านพรุ มีจำนวนเงินลงทุนสะสม 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ.2558-2560)
จำนวนเงินลงทุนสะสม 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ.2558-2560) | |
พ.ศ. | เงินลงทุนรวม (ล้านบาท) |
2558 | 217,000,000 |
2559 | 1,729,540,000 |
2560 | 2,683,600,000 |
ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา
|
มิติ | เศรษฐกิจ | |
ด้านที่ | 4. | เศรษฐกิจท้องถิ่น |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 4.1 | การส่งเสริมอาชีพให้แก่คนในท้องถิ่น |
ตัวชี้วัด | 4.1.1 | การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมชุมชนในบริเวณโดยรอบ |
ปัจจุบันยังไม่มีแผนหรือมีโครงการที่ให้ผู้ประกอบการในพื้นที่เข้าไปส่งเสริมสนับสนุนให้ท้องถิ่นดำเนินกิจกรรมของชุมชน โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | เศรษฐกิจ | |
ด้านที่ | 4. | เศรษฐกิจท้องถิ่น |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 4.1 | การส่งเสริมอาชีพให้แก่คนในท้องถิ่นในบริเวณโดยรอบ |
ตัวชี้วัด | 4.1.2 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีจำนวนแรงงานท้องถิ่น |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ข้อมูลจำนวนแรงงานท้องถิ่นในโรงงานอุตสาหกรรมแต่ละแห่ง แต่มีการรวบรวมเฉพาะจำนวนแรงงานทั้งหมดในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งข้อมูลจากสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลา มีจำนวนแรงงานทั้งหมดในสถานประกอบการ 39,072 คน โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งแรงงานท้องถิ่น หมายถึง แรงงานที่มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ในจังหวัดที่โรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่
มิติ | เศรษฐกิจ | |
ด้านที่ | 4. | เศรษฐกิจท้องถิ่น |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 4.1 | การส่งเสริมอาชีพให้แก่คนในท้องถิ่น |
ตัวชี้วัด | 4.1.3 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าหรือบริการจากชุมชน หรือ ส่งเสริมอาชีพให้กับชุมชน หรือสนับสนุนให้เกิดความยั่งยืนทางด้าน การตลาด หรือพัฒนาหลักสูตรส่งเสริมอาชีพ หรือทักษะแรงงาน |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | เศรษฐกิจ | |
ด้านที่ | 4. | เศรษฐกิจท้องถิ่น |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 4.1 | การส่งเสริมอาชีพให้แก่คนในท้องถิ่น |
ตัวชี้วัด | 4.1.4 | อัตราการว่างงาน |
ข้อมูลจากสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสงขลา พบว่าในปี พ.ศ.2560 ในพื้นที่เทศบาลตำบลสำนักขาม องค์การบริหารส่วน ตำบลสำนักแต้ว เทศบาลเมืองสะเดา เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ องค์การบริหารส่วนตำบลปริก เทศบาลตำบลปริก เทศบาลตำบลพะตง เทศบาลตำบลคลองแงะองค์การบริหารส่วนตำบลพังลา เทศบาลเมืองบ้านไร่ องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง และเทศบาลเมืองบ้านพรุมีจำนวนคนว่างงาน 3,031 คน เป็นชาย 1,335 คน และหญิง 1,696 คน
มิติ | เศรษฐกิจ | |
ด้านที่ | 5. | การตลาด |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 5.1 | มีการส่งเสริมสินค้าหรือบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม |
ตัวชี้วัด | 5.1.1 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการผลิตสินค้าหรือบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Product/Eco-Service) หรือมีการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Purchasing) ต่อจำนวนผู้ประกอบการทั้งหมด |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | เศรษฐกิจ | |
ด้านที่ | 6. | การขนส่งและโลจิสติกส์ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 6.1 | การจัดการระบบขนส่งและโลจิสติกส์อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัย |
ตัวชี้วัด | 6.1.1 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีกิจกรรมหรือมาตรการที่ปลอดภัย ลดต้นทุน หรือเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่งและโลจิสติกส์ขององค์กร |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้จากโรงงานอุตสาหกรรมแต่ละแห่ง โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลรายโรงงานโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งกิจกรรมหรือมาตรการที่ปลอดภัย ลดต้นทุน หรือเพิ่มประสิทธิภาพ ได้แก่ การลดการใช้ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง ใช้วัสดุด้านบรรจุภัณฑ์ที่สามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่ หรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบอัตโนมัติกับระบบขนส่งและ
โลจิสติกส์
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 7. | การจัดการคุณภาพน้ำ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 7.1 | การควบคุมมลภาวะทางน้ำ |
ตัวชี้วัด | 7.1.1 | คุณภาพน้ำทิ้งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้จากโรงงานอุตสาหกรรมแต่ละแห่ง แต่กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีการจัดทำฐานข้อมูลการระบายน้ำทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม แต่ไม่สำแดงผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้งทุกพารามิเตอร์ จึงไม่สามารถระบุได้ว่าคุณภาพน้ำทิ้งเป็นไปตามมาตรฐาน 100% โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลรายโรงงานโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 7. | การจัดการคุณภาพน้ำ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 7.2 | การลดปริมาณน้ำใช้ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ |
ตัวชี้วัด | 7.2.1 | ปริมาณน้ำใช้ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ลดลง |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้จากโรงงานอุตสาหกรรมแต่ละแห่ง โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลรายโรงงานโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 7. | การจัดการคุณภาพน้ำ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 7.2 | การลดปริมาณน้ำใช้ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ |
ตัวชี้วัด | 7.2.2 | ปริมาณน้ำทิ้งต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ลดลง |
ปัจจุบันยังไม่มีการรวบรวมปริมาณน้ำทิ้งภาคอุตสาหกรรมของโรงงานในพื้นที่เป้าหมายอย่างเป็นระบบ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลรายโรงงานโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 7. | การจัดการคุณภาพน้ำ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 7.3 | คุณภาพแหล่งน้ำสาธารณะ |
ตัวชี้วัด | 7.3.1 | คุณภาพแหล่งน้ำสาธารณะ |
ข้อมูลจากสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 ปี พ.ศ.2558-2560 ณ “คลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา” คุณภาพแหล่งน้ำ 6 พารามิเตอร์ (อุณหภูมิน้ำ ( qC ) pH ความเค็ม (ppt) การนำไฟฟ้า (mS/cm) DO (mg/l) และ BOD (mg/l))
คุณภาพน้ำคลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 | |||||||||||||||||||
รหัส | จุดเก็บตัวอย่าง | อุณหภูมิน้ำ ( OC ) | pH | ความเค็ม (ppt) | การนำไฟฟ้า (mS/cm) | DO (mg/l) | BOD (mg/l) | ||||||||||||
ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ||
UT01 | สะพานหลังวัดห้วยคู ต.สำนักขาม อ.สะเดา | 26.5 | 26.5 | 27.3 | 7.1 | 7.2 | 8.4 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 29 | 52 | 24 | 4.1 | 6.1 | 5.8 | 1.4 | 1.0 | 1.0 |
UT02 | สำนักงานประปาสะเดา ต.สะเดา อ.สะเดา | 25.6 | 25.6 | 26.2 | 7.2 | 7.5 | 9.8 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 21 | 66 | 80 | 3.9 | 5.4 | 6.0 | 1.7 | 1.0 | 1.3 |
UT03 | หลังชุมชนมิตรสัมพันธ์ ต.สำนักขาม อ.สะเดา | 27.7 | 27.7 | 27.3 | 6.8 | 6.9 | 7.9 | 0.0 | 0.7 | 0.2 | 175 | 1357 | 488 | 4.4 | 2.1 | 3.6 | 2.9 | 4.0 | 4.7 |
UT04 | สะพานบ้านหน่ำฮั้ว ต.สะเดา อ.สะเดา | 26.0 | 26.0 | 26.8 | 7.3 | 7.0 | 8.4 | 0.0 | 0.1 | 0.0 | 43 | 175 | 251 | 4.0 | 5.8 | 4.6 | 2.2 | 4.1 | 6.7 |
UT05 | สะพานบ้านหัวถนน ต.ปริก อ.สะเดา | 30.2 | 30.2 | 27.2 | 5.7 | 6.9 | 9.1 | 0.1 | 0.3 | 0.0 | 134 | 571 | 153 | 4.1 | 5.1 | 5.0 | 1.8 | 6.6 | 2.9 |
UT06 | สะพานบ้านตะเคียนเภา ต.ปริก อ.สะเดา | 29.4 | 29.4 | 27.4 | 6.1 | 7.0 | 8.8 | 0.1 | 0.2 | 0.0 | 154 | 386 | 108 | 3.5 | 5.0 | 4.4 | 1.5 | 2.6 | 2.4 |
UT07 | สะพานบ้านท่าโพธิ์ออก ต.ท่าโพธิ์ อ.สะเดา | 29.5 | 29.5 | 27.8 | 5.6 | 6.8 | 9.3 | 0.1 | 0.2 | 0.0 | 122 | 413 | 90 | 4.1 | 6.2 | 4.6 | 2.0 | 2.2 | 1.5 |
UT08 | สะพานวัดม่วงก็อง ต.พังลา อ.สะเดา | 29.5 | 29.5 | 28.2 | 5.9 | 6.9 | 8.6 | 0.1 | 0.1 | 0.0 | 123 | 261 | 71 | 4.7 | 5.0 | 5.2 | 1.7 | 2.6 | 2.0 |
UT09 | สะพานบ้านพร้าว ต.พะตง อ.หาดใหญ่ | 26.8 | 26.8 | 28.4 | 7.5 | 6.7 | 8.2 | 0.0 | 0.2 | 0.0 | 105 | 406 | 89 | 3.2 | 5.0 | 5.0 | 3.6 | 4.5 | 2.6 |
UT10 | สะพานวัดบางศาลา ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ | 26.6 | 26.6 | 28.8 | 7.8 | 6.8 | 7.5 | 0.0 | 0.2 | 0.0 | 83 | 321 | 97 | 5.1 | 5.9 | 4.6 | 1.8 | 5.7 | 3.3 |
ที่มา : สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 |
คุณภาพน้ำคลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 | |||||||||||||||||||
รหัส | จุดเก็บตัวอย่าง | อุณหภูมิน้ำ ( OC ) | pH | ความเค็ม (ppt) | การนำไฟฟ้า (mS/cm) | DO (mg/l) | BOD (mg/l) | ||||||||||||
ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ||
UT01 | สะพานหลังวัดห้วยคู ต.สำนักขาม อ.สะเดา | 26.8 | 26.8 | 27.6 | 8.1 | 8.1 | 7.7 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 33 | 37 | 41 | 4.4 | 6.2 | 5.6 | 2.9 | 1.5 | 0.7 |
UT02 | สำนักงานประปาสะเดา ต.สะเดา อ.สะเดา | 26.8 | 27.0 | 27.3 | 7.4 | 8.1 | 7.0 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 45 | 60 | 50 | 4.5 | 6.0 | 5.3 | 2.7 | 1.5 | 0.7 |
UT03 | หลังชุมชนมิตรสัมพันธ์ ต.สำนักขาม อ.สะเดา | 28.1 | 26.9 | 27.3 | 7.0 | 8.1 | 7.8 | 0.1 | 4.8 | 4.8 | 381 | 8590 | 8660 | 2.7 | 3.8 | 1.0 | 6.5 | 2.2 | 8.9 |
UT04 | สะพานบ้านหน่ำฮั้ว ต.สะเดา อ.สะเดา | 27.2 | 28.0 | 27.9 | 7.6 | 8.0 | 8.2 | 0.0 | 0.1 | 0.0 | 93 | 214 | 190 | 3.5 | 3.7 | 4.8 | 2.0 | 3.0 | 3.3 |
UT05 | สะพานบ้านหัวถนน ต.ปริก อ.สะเดา | 27.4 | 31.2 | 30.1 | 7.4 | 7.8 | 6.9 | 0.0 | 0.4 | 0.2 | 82 | 770 | 437 | 3.0 | 2.2 | 2.4 | 2.9 | 4.6 | 10.2 |
UT06 | สะพานบ้านตะเคียนเภา ต.ปริก อ.สะเดา | 27.4 | 29.1 | 29.9 | 7.5 | 7.6 | 7.0 | 0.0 | 0.3 | 0.2 | 74 | 706 | 347 | 1.8 | 3.2 | 2.8 | 12.6 | 2.6 | 7.6 |
UT07 | สะพานบ้านท่าโพธิ์ออก ต.ท่าโพธิ์ อ.สะเดา | 27.6 | 29.7 | 29.6 | 7.3 | 7.6 | 6.6 | 0.0 | 0.2 | 0.1 | 72 | 460 | 279 | 2.7 | 4.2 | 4.6 | 6.0 | 4.5 | 1.4 |
UT08 | สะพานวัดม่วงก็อง ต.พังลา อ.สะเดา | 27.5 | 30.4 | 29.9 | 7.4 | 7.6 | 6.4 | 0.0 | 0.1 | 0.1 | 66 | 269 | 347 | 3.7 | 7.8 | 4.0 | 1.9 | 4.2 | 1.5 |
UT09 | สะพานบ้านพร้าว ต.พะตง อ.หาดใหญ่ | 26.7 | 30.6 | 31.1 | 7.7 | 7.8 | 6.3 | 0.0 | 0.3 | 0.2 | 85 | 664 | 366 | 3.4 | 4.3 | 2.8 | 2.2 | 3.6 | 3.2 |
UT10 | สะพานวัดบางศาลา ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ | 26.7 | 30.1 | 30.5 | 7.9 | 7.5 | 6.3 | 0.0 | 0.2 | 0.1 | 75 | 427 | 290 | 4.8 | 9.2 | 4.9 | 1.5 | 5.6 | 1.9 |
ที่มา : สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 |
คุณภาพน้ำคลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 | |||||||||||||||||||
รหัส | จุดเก็บตัวอย่าง | อุณหภูมิน้ำ ( OC ) | pH | ความเค็ม (ppt) | การนำไฟฟ้า (mS/cm) | DO (mg/l) | BOD (mg/l) | ||||||||||||
ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ||
UT01 | สะพานหลังวัดห้วยคู ต.สำนักขาม อ.สะเดา | 26.8 | 25.7 | 28.1 | 7.6 | 7.1 | 7.6 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 40 | 47 | 32 | 6.0 | 6.0 | 6.0 | 1.3 | 0.7 | 0.7 |
UT02 | สำนักงานประปาสะเดา ต.สะเดา อ.สะเดา | 26.7 | 25.6 | 27.6 | 7.8 | 7.4 | 7.8 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 56 | 55 | 32 | 5.2 | 6.2 | 5.2 | 1.1 | 0.9 | 0.7 |
UT03 | หลังชุมชนมิตรสัมพันธ์ ต.สำนักขาม อ.สะเดา | 27.1 | 26.5 | 28.2 | 7.3 | 6.5 | 6.7 | 0.4 | 0.2 | 0.5 | 950 | 555 | 1240 | 4.0 | 3.2 | 6.0 | 3.3 | 2.1 | 22.4 |
UT04 | สะพานบ้านหน่ำฮั้ว ต.สะเดา อ.สะเดา | 27.0 | 26.5 | 28.1 | 7.2 | 6.6 | 7.6 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 48 | 181 | 129 | 4.0 | 4.2 | 5.0 | 3.4 | 5.5 | 3.4 |
UT05 | สะพานบ้านหัวถนน ต.ปริก อ.สะเดา | 27.3 | 27.4 | 28.5 | 7.1 | 6.8 | 7.7 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 67 | 188 | 70 | 4.0 | 5.0 | 6.3 | 4.7 | 2.9 | 1.8 |
UT06 | สะพานบ้านตะเคียนเภา ต.ปริก อ.สะเดา | 28.3 | 27.6 | 28.7 | 6.9 | 6.5 | 7.6 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 164 | 170 | 73 | 3.4 | 3.8 | 5.8 | 4.9 | 2.1 | 1.9 |
UT07 | สะพานบ้านท่าโพธิ์ออก ต.ท่าโพธิ์ อ.สะเดา | 29.1 | 27.8 | 29.0 | 7.0 | 6.5 | 7.8 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 173 | 163 | 66 | 4.0 | 4.6 | 5.4 | 3.1 | 2.7 | 1.9 |
UT08 | สะพานวัดม่วงก็อง ต.พังลา อ.สะเดา | 29.6 | 27.7 | 29.3 | 7.2 | 6.6 | 7.5 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 145 | 117 | 75 | 4.2 | 5.4 | 6.0 | 2.6 | 1.2 | 1.2 |
UT09 | สะพานบ้านพร้าว ต.พะตง อ.หาดใหญ่ | 29.6 | 28.0 | 29.6 | 7.4 | 6.5 | 7.4 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 185 | 125 | 117 | 3.8 | 6.2 | 5.4 | 4.5 | 1.2 | 2.3 |
UT10 | สะพานวัดบางศาลา ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ | 29.8 | 28.2 | 29.6 | 7.3 | 6.5 | 7.4 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 173 | 114 | 103 | 3.8 | 6.0 | 5.7 | 3.5 | 1.8 | 1.8 |
ที่มา : สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 |
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 8. | การจัดการคุณภาพอากาศ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 8.1 | การควบคุมมลภาวะทางอากาศ |
ตัวชี้วัด | 8.1.1 | คุณภาพอากาศบริเวณนิคมอุตสาหกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม และชุมชน อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน |
ในพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลา ไม่มีจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศอยู่ในพื้นที่
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 8. | การจัดการคุณภาพอากาศ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 8.1 | การควบคุมมลภาวะทางอากาศ |
ตัวชี้วัด | 8.1.2 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่ดำเนินกิจกรรมการลดการปล่อยมลพิษทางอากาศที่มีนัยสำคัญได้มากกว่าเกณฑ์มาตร |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 8. | การจัดการคุณภาพอากาศ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 8.1 | การควบคุมมลภาวะทางอากาศ |
ตัวชี้วัด | 8.1.2 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่ดำเนินกิจกรรมการลดการปล่อยมลพิษทางอากาศที่มีนัยสำคัญได้มากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 9. | การจัดการกากของเสียและวัสดุเหลือใช้ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 9.1 | การจัดการกากของเสียและวัสดุเหลือใช้ภาคอุตสาหกรรม |
ตัวชี้วัด | 9.1.1 | อัตราการนำกากของเสียอุตสาหกรรมกลับมาใช้ใหม่ |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 9. | การจัดการกากของเสียและวัสดุเหลือใช้ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 9.2 | การจัดการขยะชุมชน |
ตัวชี้วัด | 9.2.1 | อัตราการกำจัดขยะชุมชน |
ข้อมูลจากสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 พบว่า ปี 2560 มีขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในเขตเทศบาลตำบลสำนักขาม องค์การบริหารส่วน ตำบลสำนักแต้ว เทศบาลเมืองสะเดา เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ องค์การบริหารส่วนตำบลปริก เทศบาลตำบลปริก เทศบาลตำบลพะตง เทศบาลตำบลคลองแงะองค์การบริหารส่วนตำบลพังลา เทศบาลเมืองบ้านไร่ องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง และเทศบาลเมืองบ้านพรุ มีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นเฉลี่ย 17.08 ตันต่อวัน โดยมีการนำขยะเข้าสู่ระบบกำจัดจำนวน 17.08 ตันต่อเดือน ด้วยวิธีการฝังกลบอย่างถูกสุขาภิบาล และผลิตเชื้อเพลิง (RDF)
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 10. | การจัดการพลังงาน |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 10.1 | มีการใช้พลังงานทดแทนในเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ |
ตัวชี้วัด | 10.1.1 | อัตราการใช้พลังงานทดแทน |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 10. | การจัดการพลังงาน |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 10.2 | การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ |
ตัวชี้วัด | 10.2.1 | สัดส่วนโรงงานที่ดำเนินกิจกรรมหรือมาตรการลดการใช้พลังงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 11. | การจัดการเหตุเดือนร้อนรำคาญ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 11.1 | การจัดการและตอบสนองต่อข้อร้องเรียนด้านเหตุเดือดร้อนรำคาญ |
ตัวชี้วัด | 11.1.1 | การตอบสนองต่อข้อร้องเรียนด้านเหตุเดือดร้อนรำคาญ |
ข้อมูลจากสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา พบว่าในปี พ.ศ.2558 - 2560 มีโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ตำบลบ้านพรุมีข้อร้องเรียนด้านเหตุเดือดร้อนรำคาญเรื่องแมลงวัน กลิ่นเหม็น และควันพิษ
จำนวนข้อร้องเรียนด้านเหตุเดือดร้อนรำคาญที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เป้าหมายการพัฒนา เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลา |
|||||||
ตำบล
|
เหตุร้องเรียน | จำนวน (เรื่อง) | |||||
พ.ศ. 2558 | พ.ศ. 2559 | พ.ศ. 2560 | |||||
ดำเนินแก้ไข | ไม่มีการแก้ไข | ดำเนินแก้ไข | ไม่มีการแก้ไข | ดำเนินแก้ไข | ไม่มีการแก้ไข | ||
ตำบล สำนักขาม |
-
|
- | - | - | - | - | - |
ตำบล สำนักแต้ว |
- | - | - | - | - | - | - |
ตำบลสะเดา | - | - | - | - | - | - | - |
ตำบล ปาดังเบซาร์ |
- | - | - | - | - | - | - |
ตำบลปริก | - | - | - | - | - | - | - |
ตำบลพังลา | - | - | - | - | - | - | - |
ตำบลพะตง | - | - | - | - | - | - | - |
ตำบลบ้านพรุ | เรื่องแมลงวัน กลิ่นเหม็น และควันพิษ | - | - | - | - | 3 | - |
ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา |
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 12. | กระบวนการผลิต |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 12.1 | กระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม |
ตัวชี้วัด | 12.1.1 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Eco-Process) หรือได้รับการรับรองโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) |
จากฐานข้อมูลกรมโรงงานอุตสาหกรรมพบว่า ในพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลา พื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco Process) หรือได้รับการรับรองโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) หรืออุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ตั้งแต่ระดับที่ 3 ขึ้นไป หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า จำนวน 23 โรงงาน คิดเป็นร้อยละ 11.00 ของโรงงานอุตสาหกรรมทั้งหมดในพื้นที่
โรงงานอุตสาหกรรมที่มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco Process) หรือได้รับการรับรองโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) หรืออุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ตั้งแต่ระดับที่ 3 ขึ้นไป หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า | ||||||
ลำดับ | เลขทะเบียนโรงงาน | ชื่อโรงงาน | GI2 | GI3 | GI4 | GI5 |
1 | 3-101-5/39สข | บริษัท หวาไถ้รับเบอร์ จำกัด | / | |||
2 | 3-52(3)-5/34สข | บริษัท ศรีตรัง แอโกร อินดัสทรี จำกัด | / | |||
3 | 3-52(3)-6/50สข | บริษัท ท้อปโกลฟ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด | / | |||
4 | 3-52(3)-3/34สข | บริษัท สะเดา พี.เอส.รับเบอร์ จำกัด | / | |||
5 | 3-52(3)-60/43 สข | บริษัท บริดจสโตน เนเชอรัล รับเบอร์ (ประเทศไทย) จำกัด |
/ | |||
6 | 3-20(3)-1/13สข | บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) | / | |||
7 | 3-52(3)-1/34สข | บริษัท ทัทวิน จำกัด | / | |||
8 | 3-52(3)-4/32สข | บริษัท รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ จำกัด | / | |||
9 | 3-52(3)-2/37สข | บริษัท มาล์เทครับเบอร์ จำกัด | / | |||
10 | 3-52(3)-3/34สข | บริษัท สะเดา พี.เอส.รับเบอร์ จำกัด | / | |||
11 | 3-52(1)-1/44สข | บริษัท หาดสินลาเท็กซ์ จำกัด | / | |||
12 | 3-52(3)-8/48สข | บริษัท เอ วัน รับเบอร์ จำกัด | / | |||
13 | 3-52(3)-60/43สข | บริษัท บริดจสโตน เนเชอรัล รับเบอร์ (ประเทศไทย) จำกัด | / | |||
14 | 3-52(3)-1/40สข | บริษัท หวาไถ้รับเบอร์ จำกัด | / | |||
15 | 3-58(1)-2/40สข | โรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ คลองแงะ | / | |||
16 | จ3-58(1)-112/53สข | บริษัท แสงเจริญคอนกรีตมิกซ์ (2002) จำกัด | / | |||
17 | 3-39-1/42สข | บริษัท ไอเอสซีเอ็ม อินดัสทรี่ส์ (ประเทศไทย) จำกัด | / | |||
18 | จ3-73-14/55สข | บริษัท ไอเอสซีเอ็ม อินดัสทรี่ส์ (ประเทศไทย) จำกัด | / | |||
19 | 3-34(3)-1/60สข | บริษัท พาเนล พลัส เอ็มดีเอฟ จำกัด | / | |||
20 | 3-34(3)-2/56สข | บริษัท พาเนล พลัส เอ็มดีเอฟ จำกัด | / | |||
21 | ศ3-34(3)-1/35สข | บริษัท พาเนล พลัส จำกัด | / | |||
22 | จ3-40(1)-20/49สข | บริษัท พาเนล เดคคอร์ จำกัด | / | |||
23 | ส3-52(4)-1/32สข | บริษัท สยามเซมเพอร์เมด จำกัด | / | |||
ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม |
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 12. | กระบวนการผลิต |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 12.2 | การใช้วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ |
ตัวชี้วัด | 12.2.1 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่ดำเนินกิจกรรมหรือมาตรการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้วัตถุดิบ |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 13. | ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 13.1 | ประสิทธิภาพเชิงนิเวศเพื่อการจัดการทรัพยากร |
ตัวชี้วัด | 13.1.1 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพเชิงนิเวศ (Eco Efficiency) ใน 4 ด้าน ดังนี้
|
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 13. | ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 13.2 | ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก |
ตัวชี้วัด | 13.2.1 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่ดำเนินกิจกรรมหรือมาตรการ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 13. | ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 13.3 | ลดการคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพ |
ตัวชี้วัด | 13.3.1 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการประเมินผลกระทบจากการดำเนินงานขององค์กรต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และจัดทำแผนป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อความหลากหลายทางชีวภาพ |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 14. | การจัดการด้านความปลอดภัยและสุขภาพ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 14.1 | การจัดการด้านความปลอดภัยและสุขภาพ |
ตัวชี้วัด | 14.1.1 | อัตราการเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงและอัตราการเจ็บป่วยที่รุนแรง |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 14. | การจัดการด้านความปลอดภัยและสุขภาพ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 14.1 | การจัดการด้านความปลอดภัยและสุขภาพ |
ตัวชี้วัด | 14.1.2 | การรั่วไหล และการเกิดอุบัติเหตุของสารเคมีและวัตถุอันตราย ที่ทำให้เกิดผลกระทบต่อพนักงาน ชุมชน หรือสิ่งแวดล้อมภายนอก |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สิ่งแวดล้อม | |
ด้านที่ | 15. | การเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 15.1 | การเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม |
ตัวชี้วัด | 15.1.1 | ระบบการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม หรือ EIA Monitoring หรือโครงการอื่นที่เทียบเท่า |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สังคม | |
ด้านที่ | 16. | คุณภาพชีวิตและสังคมของพนักงาน |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 16.1 | ที่ทำงานมีสุข (Happy Workplace) |
ตัวชี้วัด | 16.1.1 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีดำเนินงานตามแนวทางการเป็นที่ทำงานมีสุข (Happy Workplace) |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สังคม | |
ด้านที่ | 17. | คุณภาพชีวิตและสังคมของคนในท้องถิ่นโดยรอบ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 17.1 | ชุมชนอยู่ดีมีสุข (Happy Community or Well-being Community) |
ตัวชี้วัด | 17.1.1 | การสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนตามบริบทของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ |
ในเขตพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลาธานีมีโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับรางวัล CSR-DIW จำนวน 11 แห่ง
รายชื่อโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลาที่ได้รับรางวัล CSR-DIW | ||
ลำดับ | เลขทะเบียนโรงงาน | ชื่อโรงงาน |
1 | 3-52(3)-5/34สข | บริษัท ศรีตรัง แอโกร อินดัสทรี จำกัด (มหาชน) |
2 | ศ3-15(1)-2/38สข | บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) |
3 | 3-20(3)-1/13สข | บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) |
4 | ศ3-34(3)-1/35สข | บริษัท พาเนล พลัส จำกัด |
5 | ศ3-34(3)-2/38สข | บริษัท พาเนล พลัส จำกัด |
6 | 3-42(1)-12/49สข | บริษัท ไอกะ หาดใหญ่ จำกัด |
7 | ส3-52(4)-1/32สข | บริษัท ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จำกัด |
8 | 3-52(3)-60/43สข | บริษัท บริดจสโตน เนเชอรัล รับเบอร์ (ประเทศไทย) จำกัด |
9 | ส3-52(3)-1/33สข | บริษัท สะเดาอุตสาหกรรมยางพารา (1988) จำกัด |
10 | 3-37-1/31สข | นายอนันต์ พฤกษานุศักดิ์ |
11 | จ3-105-51/50สข | ห้างหุ้นส่วนจำกัด อัครพนธ์ เทรดดิ้ง |
ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม
|
มิติ | สังคม | |
ด้านที่ | 17. | คุณภาพชีวิตและสังคมของคนในท้องถิ่นโดยรอบ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 17.1 | ชุมชนอยู่ดีมีสุข (Happy Community or Well-being Community) |
ตัวชี้วัด | 17.1.2 | ความพึงพอใจของชุมชน |
ปี พ.ศ.2561 มีการจัดทำแบบสอบถามในการสำรวจความพึงพอใจของชุมชนต่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศพื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ จังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นการสำรวจความพึงพอใจต่อการเผยแพร่และรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและสารเคมีของโรงงานต่อสาธารณะ
มิติ | สังคม | |
ด้านที่ | 17. | คุณภาพชีวิตและสังคมของคนในท้องถิ่นโดยรอบ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 17.1 | ชุมชนอยู่ดีมีสุข (Happy Community or Well-being Community) |
ตัวชี้วัด | 17.1.3 | อัตราการเจ็บป่วยจากโรคจากการประกอบอาชีพ |
ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ โดยแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต คือ การสำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้แบบสอบถาม
มิติ | สังคม | |
ด้านที่ | 17. | คุณภาพชีวิตและสังคมของคนในท้องถิ่นโดยรอบ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 17.1 | ชุมชนอยู่ดีมีสุข (Happy Community or Well-being Community) |
ตัวชี้วัด | 17.1.4 | อัตราการลดลงของการเกิดคดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญต่อประชากรรวม |
ข้อมูลจากสถานีตำรวจภูธรสะเดา ปี 2560 มีข้อมูลการเกิดคดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญในพื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ จังหวัดสงขลา
สถิติการรับแจ้งคดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญในพื้นที่ ปี 2558 - 2560 | ||||
พื้นที่ | คดี/ตำบล | พ.ศ.2558 | พ.ศ.2559 | พ.ศ.2560 |
ตำบลสำนักขาม | ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา | 2 | 1 | - |
ปล้นทรัพย์ | - | - | 2 | |
ชิงทรัพย์ | - | - | - | |
ลักพาเรียกค่าไถ่ | - | - | - | |
วางเพลิง | - | - | - | |
ตำบลสำนักแต้ว | ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา | - | - | - |
ปล้นทรัพย์ | - | - | - | |
ชิงทรัพย์ | - | 1 | - | |
ลักพาเรียกค่าไถ่ | - | - | - | |
วางเพลิง | - | - | - | |
ตำบลสะเดา | ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา | 2 | - | 1 |
ปล้นทรัพย์ | 2 | 3 | - | |
ชิงทรัพย์ | - | - | - | |
ลักพาเรียกค่าไถ่ | - | - | - | |
วางเพลิง | - | - | - | |
ตำบลปาดังเบซาร์ | ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา | 1 | 5 | - |
ปล้นทรัพย์ | 1 | - | - | |
ชิงทรัพย์ | 1 | - | - | |
ลักพาเรียกค่าไถ่ | - | - | - | |
วางเพลิง | - | - | - | |
ตำบลปริก | ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา | - | 4 | 2 |
ปล้นทรัพย์ | - | - | 1 | |
ชิงทรัพย์ | - | - | - | |
ลักพาเรียกค่าไถ่ | - | - | - | |
วางเพลิง | - | - | - | |
ตำบลพังลา | ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา | - | - | - |
ปล้นทรัพย์ | - | - | - | |
ชิงทรัพย์ | - | - | - | |
ลักพาเรียกค่าไถ่ | - | - | - | |
วางเพลิง | - | - | - | |
ตำบลพะตง | ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา | - | - | - |
ปล้นทรัพย์ | - | - | - | |
ชิงทรัพย์ | - | - | - | |
ลักพาเรียกค่าไถ่ | - | - | - | |
วางเพลิง | - | - | - | |
ตำบลบ้านพรุ | ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา | - | - | - |
ปล้นทรัพย์ | - | - | - | |
ชิงทรัพย์ | - | - | - | |
ลักพาเรียกค่าไถ่ | - | - | - | |
วางเพลิง | - | - | - | |
ที่มา : สถานีตำรวจภูธรสะเดา |
มิติ | สังคม | |
ด้านที่ | 17. | คุณภาพชีวิตและสังคมของคนในท้องถิ่นโดยรอบ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 17.1 | ชุมชนอยู่ดีมีสุข (Happy Community or Well-being Community) |
ตัวชี้วัด | 17.1.5 | ระดับความสำเร็จการดำเนินการตามแผนพัฒนาทักษะการประกอบวิชาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิต |
ข้อมูลจากสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสงขลา ได้รวบรวมข้อมูลสถิตระดับการศึกษาของประชากรในพื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ ในปี พ.ศ.2558 - 2560 พบว่าประชากรในพื้นที่เทศบาลตำบลสำนักขาม องค์การบริหารส่วนตำบลสำนักแต้ว เทศบาลเมืองสะเดา เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ องค์การบริหารส่วนตำบลปริก เทศบาลตำบลปริก เทศบาลตำบลพะตง เทศบาลตำบลคลองแงะ องค์การบริหารส่วนตำบลพังลา เทศบาลเมืองบ้านไร่ องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง และเทศบาลเมืองบ้านพรุมีระดับการศึกษา
ข้อมูลสถิติระดับการศึกษาของประชากรในพื้นที่ ปี พ.ศ. 2558-2560 | ||||||||
ตำบล | ปี พ.ศ. | ระดับการศึกษาของประชากรในพื้นที่ | ||||||
ต่ำกว่าประถม ศึกษา (คน) |
ประถม ศึกษา (คน) |
มัธยม ศึกษาตอนต้น (คน) |
มัธยมศึกษาตอนปลาย (คน) |
อาชีว ศึกษา (คน) |
ปริญญาตรี (คน) |
สูงกว่าปริญญาตรี (คน) |
||
ตำบล สำนักขาม |
2558 | 488 | 2016 | 1562 | 1523 | 1112 | 564 | 1 |
2559 | 236 | 2332 | 1760 | 1650 | 1238 | 490 | 1 | |
2560 | 448 | 2683 | 2239 | 1500 | 454 | 196 | 2 | |
ตำบล สำนักแต้ว |
2558 | 883 | 2681 | 1539 | 1916 | 839 | 606 | 14 |
2559 | 580 | 2544 | 1713 | 1810 | 925 | 444 | 6 | |
2560 | 222 | 2707 | 1698 | 1936 | 310 | 476 | 11 | |
ตำบลสะเดา | 2558 | 726 | 822 | 997 | 2859 | 1913 | 4131 | 71 |
2559 | 678 | 2820 | 1885 | 3124 | 1165 | 2578 | 123 | |
2560 | 346/286 | 2543/1692 | 976/2357 | 750/2843 | 156/1060 | 475/630 | 14/16 | |
ตำบล ปาดังเบซาร์ |
2558 | 363/768 | 2720/1944 | 1178/1744 | 898/1696 | 139/460 | 333/858 | 14/35 |
2559 | 332/1071 | 3003/3174 | 1229/2686 | 741/2006 | 141/741 | 331/1099 | 13/27 | |
2560 | 768/479 | 1944/2533 | 1744/2384 | 1696/1218 | 460/493 | 858/1124 | 35/12 | |
ตำบลปริก | 2558 | 995/318 | 2987/2066 | 2081/1049 | 1395/1120 | 524/426 | 407/722 | 21/35 |
2559 | 500/334 | 28571428 | 1913/988 | 1416/1270 | 586/496 | 308/758 | 16/26 | |
2560 | 417/194 | 2451/1215 | 1339/791 | 3070/738 | 391/297 | 535/494 | 20/18 | |
ตำบลพังลา | 2558 | 211 | 1071 | 503 | 486 | 137 | 360 | 13 |
2559 | 143 | 988 | 532 | 482 | 232 | 38 | 10 | |
2560 | 283 | 1068 | 598 | 256 | 77 | 229 | 11 | |
ตำบล พะตง |
2558 | 222/123 | 1301/1068 | 702/814 | 619/1061 | 181/386 | 945/1698 | 9/3 |
2559 | 244/77 | 1620/1338 | 807/2109 | 604/803 | 228/225 | 627/490 | 34/35 | |
2560 | 183/68 | 1246/1983 | 671/754 | 518/597 | 179/165 | 573/891 | 22/18 | |
ตำบลบ้านพรุ | 2558 | 224/477 | 1019/3061 | 939/2371 | 872/2652 | 360/837 | 937/2334 | 44/142 |
2559 | 435/160 | 764/1699 | 936/881 | 955/1031 | 396/459 | 584/1007 | 6/84 | |
2560 | 168 | 907 | 426 | 859 | 277 | 772 | 4 | |
ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสงขลา |
มิติ | สังคม | |
ด้านที่ | 17. | คุณภาพชีวิตและสังคมของชุมชนโดยรอบ |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 17.1 | ชุมชนอยู่ดีมีสุข (Happy Community or Well-being Community) |
ตัวชี้วัด | 17.1.6 | ความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินจากภัยพิบัติ |
ข้อมูลจากเทศบาลตำบลสำนักขาม องค์การบริหารส่วน ตำบลสำนักแต้ว เทศบาลเมืองสะเดา เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ องค์การบริหารส่วนตำบลปริก เทศบาลตำบลปริก เทศบาลตำบลพะตง เทศบาลตำบลคลองแงะองค์การบริหารส่วนตำบลพังลา เทศบาลเมืองบ้านไร่ องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง และเทศบาลเมืองบ้านพรุ มีการจัดเก็บข้อมูลมูลค่าความเสียหายในทรัพย์สินที่เกิดจากภัยพิบัติในปี พ.ศ.2558- 2560 ในพื้นที่เทศบาลตำบลสำนักขาม องค์การบริหารส่วน ตำบลสำนักแต้ว เทศบาลเมืองสะเดา เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ องค์การบริหารส่วนตำบลปริก เทศบาลตำบลปริก เทศบาลตำบลพะตง เทศบาลตำบลคลองแงะองค์การบริหารส่วนตำบลพังลา เทศบาลเมืองบ้านไร่ องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง และเทศบาลเมืองบ้านพรุ
ข้อมูลรายงานจำนวน และสาเหตุของผู้เสียชีวิต หรือมูลค่าความเสียหายในทรัพย์สินที่เกิดจากภัยพิบัติ หรือการดำเนินงานของอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2558-2560 | ||||||||||
ตำบล | ประเภท ภัยพิบัติ |
จำนวนครั้ง ที่เกิดภัย |
เสียชีวิต | มูลค่าความ เสียหาย(บาท) |
จำนวนครั้ง ที่เกิดภัย |
เสียชีวิต | มูลค่าความ เสียหาย(บาท) |
จำนวนครั้ง ที่เกิดภัย |
เสียชีวิต | มูลค่าความ เสียหาย(บาท) |
สำนักขาม |
อัคคีภัย | - | - | - | 1 | - | - | - | - | - |
วาตภัย | - | - | - | 1 | - | - | - | - | - | |
อุทกภัย | - | - | - | - | - | - | - | - | - | |
ก่อการร้าย | - | - | - | - | - | - | - | - | - | |
สำนักแต้ว |
อัคคีภัย | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
วาตภัย | 1 | - | - | 1 | - | - | 2 | - | 17,000.- | |
อุทกภัย | - | - | - | 1 | - | - | 1 | - | - | |
ก่อการร้าย | - | - | - | - | - | - | - | - | - | |
สะเดา |
อัคคีภัย | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
วาตภัย | - | - | - | 1 | - | - | - | - | - | |
อุทกภัย | - | - | - | - | - | - | - | - | - | |
ก่อการร้าย | - | - | - | - | - | - | - | - | - | |
ปาดังเบซาร์ |
อัคคีภัย | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
วาตภัย | 3 | - | 50,000.- | 1 | - | - | - | - | - | |
อุทกภัย | - | - | - | 1 | - | - | 1 | - | - | |
ก่อการร้าย | 1 | 3 | - | - | - | - | - | - | - | |
ปริก |
อัคคีภัย | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
วาตภัย | - | - | - | 1 | - | - | 1 | - | 50,000.- | |
อุทกภัย | - | - | - | 1 | - | - | 1 | - | ||
ก่อการร้าย | - | - | - | - | - | - | - | - | - | |
พังลา |
อัคคีภัย | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
วาตภัย | 1 | - | 40,000.- | 1 | - | - | - | - | - | |
อุทกภัย | - | - | - | 1 | - | - | 1 | - | - | |
ก่อการร้าย | - | - | - | - | - | - | - | - | - | |
พะตง |
อัคคีภัย | 1 | - | - | - | - | - | - | - | - |
วาตภัย | 1 | - | 15,000.- | 1 | - | - | - | - | - | |
อุทกภัย | - | - | - | - | - | - | 1 | - | - | |
ก่อการร้าย | - | - | - | - | - | - | - | - | - | |
บ้านพรุ |
อัคคีภัย | - | - | - | 1 | - | - | - | - | - |
วาตภัย | 1 | - | 71,907.- | - | - | - | 1 | - | - | |
อุทกภัย | - | - | - | 1 | - | - | 1 | - | - | |
ก่อการร้าย | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
มิติ | การบริหารจัดการ | |
ด้านที่ | 18. | การบริหารจัดการพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 18.1 | การดำเนินการของคณะทำงานเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอย่างมีส่วนร่วม |
ตัวชี้วัด | 18.1.1 | แผนและผลการดำเนินงานของคณะทำงานเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และ/หรือเครือข่ายอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ |
พื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลาได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและจัดทำแผนปฏิบัติการตามแผนแม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ขึ้นในปี พ.ศ.2559 โดยคณะกรรมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลา มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลา มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศพื้นที่อำเภอสะเดา ครอบคลุม 6 พื้นที่ ได้แก่ ตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ ครอบคลุม 2 พื้นที่ ตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุจังหวัดสงขลา คำสั่งที่ 1/2559 ลงวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.2559 มีคณะทำงานรวมทั้งสิ้น 26 คน และมีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเครือข่ายอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Network) พื้นที่อำเภอสะเดา และพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาคำสั่งที่ 2803/2560 ลงวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2560 มีคณะทำงานรวม 51 คนเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับจังหวัดสงขลา
และเมื่อวันที่ 19-20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 ได้มีการสัมมนาผู้แทนเครือข่าย Eco Network ครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ 2561 โดยคณะทำงานเครือข่ายอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Network) ได้ร่วมกันจัดทำแผนการดำเนินงานของเครือข่าย Eco Network
มิติ | การบริหารจัดการ | |
ด้านที่ | 19. | การพัฒนาและรักษาระบบบริหารระดับสากล |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 19.1 | การดำเนินการของคณะทำงานเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอย่างมีส่วนร่วม |
ตัวชี้วัด | 19.1.1 | สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry : GI)ตั้งแต่ระดับที่ 2 ขึ้นไป หรือ CSR Beginner หรือระบบการจัดการอื่นที่เทียบเท่า |
จากฐานข้อมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรม พื้นที่เทศบาลตำบลสำนักขาม องค์การบริหารส่วน ตำบลสำนักแต้ว เทศบาลเมืองสะเดา เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ องค์การบริหารส่วนตำบลปริก เทศบาลตำบลปริก เทศบาลตำบลพะตง เทศบาลตำบลคลองแงะองค์การบริหารส่วนตำบลพังลา เทศบาลเมืองบ้านไร่ องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง และเทศบาลเมืองบ้านพรุมีโรงงานอุตสาหกรรมทั้งสิ้น 209 แห่ง มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry : GI) ตั้งแต่ระดับที่ 2 ขึ้นไป หรือ CSR Beginner หรือระบบการจัดการอื่นที่เทียบเท่า จำนวน 49 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 23.4 ของโรงงานทั้งหมดในพื้นที่
มิติ | การบริหารจัดการ | |
ด้านที่ | 20. | ข้อมูลข่าวสารและการรายงาน |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 20.1 | การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารและการจัดทำรายงาน (Information & Reporting) |
ตัวชี้วัด | 20.1.1 | การสื่อสารและการเปิดเผยข้อมูลของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ในรูปแบบช่องทาง และความถี่ในการสื่อสารในลักษณะต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิผล |
เมื่อวันที่ 19 - 20 กุมภาพันธ์ 2561 ได้มีการสัมมนาผู้แทนเครือข่าย Eco Network ครั้งที่ 1 ป?งบประมาณ พ.ศ. 2561 และร่วมกันจัดทำแผนการดำเนินงานของเครือข่าย Eco Network ซึ่งมีการจัดทำแผนการสื่อสารประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และมีการสื่อสารผ่าน line group : อีโค่@สงขลา เพื่อสื่อสารประชาสัมพันธ์การดำเนินงานการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จังหวัดสงขลา และการสื่อสารการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ผ่านทางเว็บไซต์สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา นอกจากนี้สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลามีการใช้แบบสอบถามผลการสำรวจการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศพื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ จังหวัดสงขลา พบว่า ร้อยละ 51.21 ของผู้ตอบแบบสอบถามมีการทราบถึงหลักการ/ความหมาย/แนวทางพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ร้อยละ 50.73 ของผู้ตอบแบบสอบถามไม่ทราบว่าพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของจังหวัดสงขลา อยู่ในพื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ และร้อยละ 49.03 ของผู้ตอบแบบสอบถามได้รับทราบข้อมูลและผลการดำเนินงานเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจากอินเตอร์เน็ตและสื่อสังคมมออนไลน์ รองลงมามีการประชุม เสียงตามสาย สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์/โปสเตอร์/แผ่นพับ และหนังสือเวียนจากทางราชการ ตามลำดับ
มิติ | การบริหารจัดการ | |
ด้านที่ | 20. | ข้อมูลข่าวสารและการรายงาน |
เกณฑ์ตัวชี้วัด | 20.1 | มีธรรมาภิบาล โปร่งใส เปิดเผยข้อมูล และรับผิดชอบต่อชุมชนโดยรอบ |
ตัวชี้วัด | 20.2.1 | การสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูล การจัดการด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และสารเคมี ของโรงงานต่อสาธารณะ |
สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลามีการใช้แบบสอบถามผลการสำรวจการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศพื้นที่อำเภอสะเดา เฉพาะตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว ตำบลสะเดา ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลปริก ตำบลพังลา และอำเภอหาดใหญ่ เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ จังหวัดสงขลา พบว่า ร้อยละ 53.64 ของผู้ตอบแบบสอบถามได้รับทราบข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและสารเคมีของโรงงานผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์มากที่สุด รองลงมามีการประชุม เสียงตามสาย สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์/โปสเตอร์/แผ่นพับ และหนังสือเวียนจากทางราชการ ตามลำดับร้อยละ 64.56 ของผู้ตอบแบบสอบถามทราบว่าโรงงานในพื้นที่การจัดการด้านความปลอดภัยด้านสิ่งแวดล้อม และสารเคมี ก่อนปล่อยสู่สาธารณะ ร้อยละ 38.83 ของผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจปานกลางต่อโรงงานในพื้นที่มีการสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูล การจัดการด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และสารเคมีของโรงงานต่อสาธารณะ และร้อยละ 40.78 ของผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจปานกลางต่อการสื่อสารแลเผยแพร่ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและสารเคมีของโรงงานในพื้นที่มากน้อย นอกจากนี้พื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลา ยังมีการจัดทำแผนปฏิบัติการตามแผนแม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดสงขลา ซึ่งมีข้อแนะนำเรื่องการจัดการความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และสารเคมีของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยมีการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ http://ecocenter.diw.go.th/ อีกทั้งยังมีการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อสื่อสารเผยแพร่ข้อมูลอีกด้วย
คณะกรรมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
ดาวน์โหลดเอกสารคณะทำงานเครือข่ายฯ (Eco Network)
ดาวน์โหลดเอกสารคณะขับเคลื่อนเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
ดาวน์โหลดเอกสาร