ประเทศเยอรมนี

การดำเนินงานด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของประเทศส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล เป็นนโยบายจากรัฐบาลสู่นโยบายระดับชุมชน (National Programs > Regional Initiatives > Local Initiatives) และมีการใช้มาตรฐานเช่นเดียวกับกลุ่ม EU และประเทศกลุ่มยุโรปอื่นๆ ได้แก่ AA1000 guidelines, Association of Chartered Certified Accountants (ACCA), European Chemical Industry Council (CEFIC), Global Reporting Initiative (GRI), International Standards Organisation (ISO), SA8000, UN Global Compact, Organisation for Economic Cooperation and Development (OECD), Global Sullivan Principles of Social Responsibility และ CERES Principles เป็นต้น

การพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีมีการดาเนินการแบบประโยชน์เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Industrial symbiosis) กล่าวคือ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล บริการ ระบบสาธารูปโภค ผลพลอยได้ (By – Products Exchange: BPX) เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่า ลดต้นทุน และปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น โดยมุ่งเน้นถึงการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบและพลังงาน

ความเป็นมาของอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ความเป็นมาของอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
มาตรฐาน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติที่ใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
มาตรฐาน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติที่ใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
โครงการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและการดำเนินการแบบประโยชน์เกื้อกูลซึ่งกันและกันของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Eco Industrial Park:EIP and Industrial Sysmbiosis)
โครงการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและการดำเนินการแบบประโยชน์เกื้อกูลซึ่งกันและกันของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Eco Industrial Park:EIP and Industrial Sysmbiosis)